Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5174
Title: แผนธุรกิจที่พักและร้านอาหาร "BANNA Cottage"
Authors: ไอรดา สมจริง
Keywords: ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม
แผนธุรกิจ
ที่พัก
ร้านอาหาร
BANNA Cottage
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยมหิดล
Abstract: ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของผู้คนทั่วโลก และเป็นอุตสาหกรรมภาคบริการที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย โดย “โครงการสำรวจ พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย ปี 2565” ของกองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว (กวจ.) พบว่าแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของชาวไทยมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเดือนธันวาคม 2565 พบว่ามีสัดส่วนชาวไทยที่เดินทางท่องเที่ยวสูงสุดใน รอบปี โดยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังก่อให้เกิดธุรกิจต่อเนื่อง เช่น โรงแรมและที่พัก ร้านอาหาร ร้านจำหน่ายสินค้าที่ระลึกซึ่งก่อให้เกิดการลงทุน การจ้างงาน และการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น สำหรับพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในปัจจุบันนิยม “การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน” พบว่า 63% ของคนไทยมีความต้ังใจที่จะท่องเที่ยวแบบยั่งยืนมากขึ้นเมื่อเทียบกับแนวโน้มโดยรวมของตลาด (52%) จากข้อมูลข้างต้น ทำให้ผู้จัดทำเล็งเห็นถึงโอกาสในการทำธุรกิจที่พักแบบรีสอร์ต ที่ให้บริการในรูปแบบโฮมสเตย์ มีชื่อว่า Banna Cottage ตั้งอยู่บนพื้นที่ 7 ไร่ ในตำบลบ้านนา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกับแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติต่างๆ เช่น น้ำตกโตนเต๊ะ หาดสำราญ และเกาะสุกร เป็นต้น โดยมีการให้บริการที่พักและร้านอาหารเป็นหลัก ซึ่งจุดเด่นของ Banna Cottage คือการตดแต่งแบบผสมผสานสไตล์ท้องถิ่นเข้าไว้กับสไตล์โมเดิร์น สร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้าผ่านกิจกรรมต่างๆที่น่าสนใจ เช่น การเก็บหอยเจดีย์ workshop อาหารใต้ เป็นต้น นอกจากน้ัน ผู้มาใช้บริการยังได้ลิ้มรสถึงอาหารใต้ที่มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์และใช้วัตถุดิบจาก ท้องถิ่น แผนธุรกิจ Banna Cottage จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อศึกษา วิเคราะห์ภาพรวมและแนวโน้ม ของธุรกิจโรงแรมและที่พัก รวมทั้งมีการศึกษากลุ่มเป้าหมาย การวางแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ด้านองค์กร การตลาด การดำเนินงาน การจัดการทรัพยากรบุคคล และการเงิน ซึ่งครอบคลุม ทุกด้านเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันและการนำไปวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจ จากการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจและการวางแผนทางการเงิน Banna Cottage จะต้องใช้เงินลงทุน โดยประมาณการอยู่ที่ 12.22 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนหน้ีสินระยะยาวต่อส่วนของเจ้าของประมาณ 60 : 40วิเคราะห์ผลตอบแทนภายใต้สถานการณ์ปกติ พบว่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิของกิจการ (NPV) เท่ากับ 6.2 ล้านบาท ซึ่งมีมูลค่าเป็นบวก อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) เท่ากับ 25% และใช้ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของผู้คนทั่วโลก และเป็น อุตสาหกรรมภาคบริการที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย โดย “โครงการสำรวจ พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย ปี 2565” ของกองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว (กวจ.) พบว่าแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของชาวไทยมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเดือนธันวาคม 2565พบว่ามีสัดส่วนชาวไทยที่เดินทางท่องเที่ยวสูงสุดใน รอบปี โดยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังก่อให้เกิดธุรกิจต่อเนื่อง เช่น โรงแรมและที่พัก ร้านอาหาร ร้านจำหน่ายสินค้าที่ระลึกซึ่งก่อให้เกิดการลงทุน การจ้างงาน และการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น สำหรับพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในปัจจุบันนิยม “การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน” พบว่า 63% ของคนไทยมี ความต้ังใจที่จะท่องเที่ยวแบบยั่งยืนมากขึ้นเมื่อเทียบกับแนวโน้มโดยรวมของตลาด (52%) จากข้อมูลข้างต้นทำให้ผู้จัดทำเล็งเห็นถึงโอกาสในการทาธุรกิจที่พักแบบรีสอร์ต ที่ให้บริการในรูปแบบโฮมสเตย์ มีชื่อว่า Banna Cottage ต้ังอยู่บนพื้นที่ 7 ไร่ ในตำบลบ้านนา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงกับแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติต่างๆ เช่น น้ำตกโตนเต๊ะ หาดสำราญ และเกาะสุกร เป็นต้น โดยมีการให้บริการที่พักและร้านอาหารเป็นหลัก ซึ่งจุดเด่นของ Banna Cottage คือการตดแต่งแบบผสมผสานสไตล์ท้องถิ่นเข้าไว้กับสไตล์โมเดิร์น สร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้าผ่านกิจกรรมต่างๆที่น่าสนใจ เช่น การเก็บหอยเจดีย์ workshopอาหารใต้ เป็นต้น นอกจากน้ัน ผู้มาใช้บริการยังได้ลิ้มรสถึงอาหารใต้ที่มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์และใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่น แผนธุรกิจ Banna Cottage จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อศึกษา วิเคราะห์ภาพรวมและแนวโน้ม ของธุรกิจโรงแรมและที่พัก รวมท้ังมีการศึกษากลุ่มเป้าหมาย การวางแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นด้านองค์กร การตลาด การดำเนินงาน การจัดการทรัพยากรบุคคล และการเงิน ซึ่งครอบคลุมทุกด้านเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันและการนำไปวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจ จากการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจและการวางแผนทางการเงิน Banna Cottage จะต้องใช้เงินลงทุน โดยประมาณการอยู่ที่ 12.22 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนหนี้สินระยะยาวต่อส่วนของเจ้าของประมาณ 60 : 40วิเคราะห์ผลตอบแทนภายใต้สถานการณ์ปกติ พบว่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิของกิจการ (NPV) เท่ากับ 6.2 ล้านบาท ซ่ึงมีมูลค่าเป็ นบวก อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) เท่ากับ 25% และใช้ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของผู้คนทั่วโลก และเป็น อุตสาหกรรมภาคบริการที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย โดย “โครงการสำรวจ พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย ปี 2565” ของกองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว (กวจ.) พบว่าแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของชาวไทยมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในเดือนธันวาคม 2565 พบว่ามีสัดส่วนชาวไทยที่เดินทางท่องเที่ยวสูงสุดใน รอบปี โดยอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวยังก่อให้เกิดธุรกิจต่อเนื่อง เช่น โรงแรมและที่พัก ร้านอาหาร ร้านจำหน่ายสินค้าที่ระลึกซึ่งก่อให้เกิดการลงทุน การจ้างงาน และการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นสำหรับพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในปัจจุบันนิยม “การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน” พบว่า 63% ของคนไทยมี ความต้ังใจที่จะท่องเที่ยวแบบยั่งยืนมากขึ้นเมื่อเทียบกับแนวโน้มโดยรวมของตลาด (52%) จากข้อมูลข้างต้นทำให้ผู้จัดทำเล็งเห็นถึงโอกาสในการทำธุรกิจที่พักแบบรีสอร์ต ที่ให้บริการในรูปแบบโฮมสเตย์ มีชื่อว่า Banna Cottage ตั้งอยู่บนพื้นที่ 7 ไร่ ในตำบลบ้านนา อำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรัง ซึ่งงตั้งอยู่ใกล้เคียงกับแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติต่างๆ เช่น น้ำตกโตนเต๊ะ หาดสำราญ และเกาะสุกร เป็นต้น โดยมีการให้บริการที่พักและร้านอาหารเป็นหลัก ซึ่งจุดเด่นของ Banna Cottage คือการตดแต่งแบบผสมผสานสไตล์ท้องถิ่นเข้าไว้กับสไตล์โมเดิร์น สร้างความ ประทับใจให้แก่ลูกค้าผ่านกิจกรรมต่างๆที่น่าสนใจ เช่น การเก็บหอยเจดีย์ workshopอาหารใต้ เป็นต้น นอกจากนั้น ผู้มาใช้บริการยังได้ลิ้มรสถึงอาหารใต้ที่มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์และใช้วัตถุดิบจาก ท้องถิ่น แผนธุรกิจ Banna Cottage จึงถูกจัดทำขึ้นเพื่อศึกษา วิเคราะห์ภาพรวมและแนวโน้ม ของธุรกิจโรงแรมและที่พัก รวมท้ังมีการศึกษากลุ่มเป้าหมาย การวางแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ด้านองค์กร การตลาด การดำเนินงาน การจัดการทรัพยากรบุคคล และการเงิน ซึ่งครอบคลุม ทุกด้านเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันและการนำไปวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจ จากการ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจและการวางแผนทางการเงิน Banna Cottage จะต้องใช้เงินลงทุน โดยประมาณการอยู่ที่ 12.22 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนหนี้สินระยะยาวต่อส่วนของเจ้าของประมาณ 60 : 40 วิเคราะห์ผลตอบแทนภายใต้สถานการณ์ปกติ พบว่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิของกิจการ (NPV) เท่ากับ 6.2 ล้านบาท ซึ่งมีมูลค่าเป็นบวก อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (IRR) เท่ากับ 25% และใช้ระยะเวลา 4 ปี ในการคืนทุน ซึ่งต่ำกว่าระยะเวลาในการลงทุนของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่มีค่าเฉลี่ย อยู่ที่ 7-10 ปี ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าธุรกิจนี้มีความน่าสนใจในการลงทุน
Description: 60 แผ่น
URI: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5174
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP EM.018 2566.pdf2.56 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.