Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorชนินทร์ อยู่เพชร-
dc.contributor.authorอาภัสนี ช่วยประคอง-
dc.date.accessioned2024-06-04T08:55:52Z-
dc.date.available2024-06-04T08:55:52Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.otherTP BM.090 2566-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5414-
dc.description106 แผ่นen_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้ังใจในการซื้อซ้ำสำหรับผลิตภัณฑ์ยาสามัญประจำบ้านผ่านตู้จำหน่ายยาอัตโนมัติ ได้แก่ ปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัย ด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน ปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ ปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยง โดยแบ่ง การรับรู้ความเสี่ยงเป็น 5 ด้าน คือด้านการเงิน ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านความปลอดภัย ด้านเวลา และด้าน สังคม และปัจจัยด้านความไว้วางใจ (2) ศึกษาหาความคิดเห็นและพฤติกรรมของประชากรที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลต่อการใช้บริการตู้จำหน่ายยาอัตโนมัติ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน จากนั้นทำการ สังเคราะห์คำนวณข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS เพื่อตอบความประสงค์งานวิจัยรวมถึงทดสอบ สมมุติฐานที่ตั้งไว้ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้นำเสนอผลตามความมุ่งหมายของการศึกษา จากผลการศึกษา พบว่าปัจจัยด้านทัศนติและการรับรู้ความง่ายในการใช้งานมีอิทธิพลเชิงบวก ส่วนปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์มีอิทธิพลเชิงลบ และปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยงด้าน ความปลอดภัยและด้านเวลามีอิทธิพลเชิงบวก ต่อความตั้งใจในการซื้อซ้ำสำหรับผลิตภัณฑ์ยาสามัญ ประจำบ้านผ่านตู้จำหน่ายยาอัตโนมัติen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectความตั้งใจในการซื้อซ้ำen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectการรับรู้ความง่ายในการใช้งานen_US
dc.subjectการรับรู้ประโยชน์en_US
dc.subjectความไว้ใจen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการซื้อซ้ำสำหรับผลิตภัณฑ์ยาสามัญประจำบ้านผ่านตู้จำหน่ายยาอัตโนมัติen_US
dc.title.alternativeFactors influencing the repurchase intention for over-the-counter medicine products through a vending machineen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.090 2566.pdf2.01 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.