Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5423
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorสุเทพ นิ่มสาย-
dc.contributor.authorพรทิพย์ ที. พูนายัน-
dc.date.accessioned2024-06-06T06:51:28Z-
dc.date.available2024-06-06T06:51:28Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.otherTP MS.042 2566-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5423-
dc.description56 แผ่นen_US
dc.description.abstractในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานอสังหาริมทรัพย์ เกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในการทำงาน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในการทำงาน และ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคต่อการยอมรับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในการทำงาน เป็นการวิจัยเชิง ปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานทุก ระดับงานในบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 180 คน ใช้สถิติทำการวิเคราะห์ ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) การรับรู้การใช้งานง่ายมีอิทธิพลต่อการรับรู้ประโยชน์ ของปัญญาประดิษฐ์ในงานอสังหาริมทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) การรับรู้การใช้งานง่าย และการรับรู้ประโยชน์ในการใช้มีอิทธิพลต่อทัศนคติการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ในงาน อสังหาริมทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ทัศนคติการใช้งานมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ตั้งใจนำไปใช้ปัญญาประดิษฐ์ในงานอสังหาริมทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์en_US
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์en_US
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีen_US
dc.subjectอสังหาริมทรัพย์en_US
dc.titleกลยุทธ์การเตรียมความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงสู่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ของ พนักงานอสังหาริมทรัพย์en_US
dc.title.alternativeStrategy for preparing employees for the transition to artificial interligence technology in real estateen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.042 2566.pdf977.77 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.