Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5425
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | สุเทพ นิ่มสาย | - |
dc.contributor.author | ภัทรระพี ประภาศิริ | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-03T08:12:41Z | - |
dc.date.available | 2024-07-03T08:12:41Z | - |
dc.date.issued | 2567 | - |
dc.identifier.other | TP MS.001 2567 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5425 | - |
dc.description | 60 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำความเขา้ใจในตลาดผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปากให้มากขึ้น เพื่อนำไปประยุกต์ในการบริหารธุรกิจให้เข้าถึงผูบ้ริโภคให้มากขึ้น เนื่องจากภาพรวมของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์สำหรับช่องปากทั่วโลกมีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นทุกปี(CAGR) ปีละ 3.2% โดยอุตสาหกรรมสุขอนามัยช่องปากนี้กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว เกิดจากการที่ประชาชนเริ่มหันมาสนใจและตระหนักรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากมากขึ้น รวมไปถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโรคในช่องปากที่เพิ่มขึ้นสูงมากขึ้น จำนวนประชากรสูงวัยที่เพิ่มขึ้น และอิทธิพลที่เพิ่มมากขึ้นของการทำทันตกรรมเพื่อความงาม และในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปาก แบรนด์Curaprox เริ่มก่อตั้งแบรนด์ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ตั้งต้นจากการจำหน่าย เครื่องมือทันตกรรมในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ภายใต้บริษัท Curaden และด้วยแนวโน้มที่ตลาดจะเติบโต ขึ้นทางผู้วิจัยจึงสนใจที่จะทำการศึกษาพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อการซื้อซ้ำ ของผู้บริโภคสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปาก : กรณีศึกษา Curaprox ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ โดยวิธีการวิจัยจะใช้การทำเก็บแบบสอบถาม เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อหาลักษณะของกลุ่ม ตัวอย่างและใช้สถิติเชิงอ้างอิงในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำ ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้บริโภคสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปากแบรนด์ Curaprox ให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ ( Perceived Benefit ) และการรับรู้คุณค่า (Perceived Value) นอกจากนี้การทำโปรโมชั่นมีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินซื้อซ้ำของแบรนด์น้อยมาก ดังนั้นการสื่อสารของแบรนด์จึงต้องมีการวางแผนให้ดี มีคุณภาพและโปรโมทคุณสมบัติตรงความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เกิดความต้องการซื้อซ้ำ และบอกต่ออย่างสม่ำเสมอ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปาก | en_US |
dc.subject | แนวทางพัฒนากลยุทธ์การตลาด | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนากลยุทธ์การตลาด เพื่อการซื้อซ้ำของผู้บริโภคสินค้าผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปาก : กรณีศึกษา Curaprox | en_US |
dc.title.alternative | Business strategies for consumer repurchase in oral health products: a case study of curaprox | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.001 2567.pdf | 98.71 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.