Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5448
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ปิยะภัสร ธาระวานิช | - |
dc.contributor.author | พิชญา ลิขิตธรรมวาณิช | - |
dc.date.accessioned | 2024-08-31T06:51:15Z | - |
dc.date.available | 2024-08-31T06:51:15Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.other | TP FM.018 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5448 | - |
dc.description | 138 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาค่าเบต้าเฉลี่ยของแต่ละหมวดธุรกิจ(Beta Business: βB𝑢𝑠𝑖𝑛𝑒𝑠𝑠) ในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งคัดเลือกหุ้นที่ดำเนินธุรกิจแบบเดียวกันได้ 466 บริษัท โดยศึกษาทั้ง 21 หมวดอุตสาหกรรม ระหว่างปี 2018 ถึง 2022 โดยใช้วิธีค่าเบต้าจากปัจจัยพื้นฐาน 2 วิธี 1. ใช้โครงสร้างหนี้สินเพียงอย่างเดียว 2. ใช้โครงสร้างหนี้สินและโครงสร้างต้นทุนคงที่ โดยแทนต้นทุนคงที่ด้วยวิธี อัตราส่วนค่าใช้จ่ายทั่วไปและการบริหารต่อยอดขายเป็นหลัก โดยนำค่าเบต้าของบริษัทจากฐานข้อมูล Bloomberg(βM) 2 ช่วงเวลา ได้แก่ รายสัปดาห์ ระยะเวลา 2 ปี และ รายเดือน ระยะเวลา 5 ปี มาขจัดผล ปัจจัยพื้นฐานทั้งสอง และนำมาทดสอบทางสถิติหาความสัมพันธ์ว่าค่าเบต้าปัจจัยพื้นฐาน ( ̂β𝐿) สามารถเป็นตัวแทนค่าเบต้าของบริษัทจากฐานข้อมูล เพื่อให้นำ βB𝑢𝑠𝑖𝑛𝑒𝑠𝑠 ไปปรับในการประมาณค่า เบต้าของบริษัทที่สนใจนอกตลาด ผลการศึกษาพบว่าค่า ̂β𝐿 มีสัมพันธ์กับค่า βM อย่างมีนัยสำคัญในทุกกรณี โดยค่าเบต้า จากปัจจัยพื้นฐานที่คำนึงทั้งโครงสร้างการเงินเพียงอย่างเดียว (̂LFL) เป็นตัวแทนค่า βM ที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในหมวดธุรกิจวิธีนี้จะมีค่าที่น้อย โดยค่าสถิติ βM มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับวิธี LFLอย่างมีนัยสำคัญ และมีค่าความสัมพันธ์ใกล้ 1 มากที่สุด เทียบกับทุกวิธีที่ทดสอบ โดยให้ค่าสัมประสิทธิ์อยู่ที่ 62.0 โดย ̂LTLGA รองลงมาอยู่ที่ 0.53 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การเงิน | en_US |
dc.subject | ค่าเบต้าเฉลี่ยของหมวดธุรกิจ | en_US |
dc.subject | ค่าเบต้าจากปัจจัยพื้นฐาน | en_US |
dc.title | การประมาณค่าเบต้าของหมวดธุรกิจเดียวกันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ต้นทุนคงที่ด้วยการประมาณค่าจากอัตราการเปลี่ยนแปลงของกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของยอดขาย (Degree of Operating Leverage : DOL) | en_US |
dc.title.alternative | Estimating beta business by sectors in the stock exchange of Thailand by using degree of operating leverage (DOL) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP FM.018 2566.pdf | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.