Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorรวิน ระวิวงศ์-
dc.contributor.authorไพริน โอษฐ์ศิริยานนท์-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:13:04Z-
dc.date.available2021-03-19T09:13:04Z-
dc.date.issued2014-05-13-
dc.identifierTP BM.021 2556-
dc.identifier.citation2556-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/550-
dc.description.abstractสารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร ที่ส่งผลให้สถานีบริการน้ามันลดลง และผลกระทบต่อผู้ประกอบการสถานีบริการน้ามัน เจ้าของที่ดิน และผู้บริโภค โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ทั้งที่เป็นแนวคิดทฤษฎี ข้อมูลการศึกษางานวิจัยและเอกสารต่างๆ ที่ส่งผลต่อการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร สถิติต่างๆที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการลดลงของสถานีบริการน้ามัน ทั้งในมุมของผู้จาหน่ายน้ามัน, ผู้ประกอบการ, เจ้าของที่ดิน และผู้บริโภค ผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่าการขยายตัวของกรุงเทพมหานครส่งผลต่อการลดลงของสถานีบริการน้ามัน โดยสามารถสรุปประเด็นที่ได้จากการศึกษา ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอื่นๆ ที่มีผลประโยชน์จูงใจมากกว่าสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง ประเด็นต่อมา คือ ราคาที่ดินในกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น ทาให้ความคุ้มทุนในด้านผู้ประกอบการสถานีบริการน้ามันไม่สามารถดาเนินธุรกิจได้ ประเด็นสุดท้าย คือ ฎหมายและข้อบังคับที่มีการเปลี่ยนแปลง ทาให้การทาธุรกิจสถานีบริการน้ามันถูกจากัดและไม่สามารถขยับขยายการพัฒนาสถานีได้ คาสาคัญ : การขยายตัวของเมือง / สถานีบริการน้ามัน-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการธุรกิจ-
dc.subjectBusiness mangement-
dc.subjectเชื้อเพลิง-
dc.subjectน้ำมัน-
dc.subjectกรุงเทพมหานคร-
dc.subjectน้ำมันเชื้อเพลิง-
dc.titleการศึกษาผลกระทบจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานครที่ส่งผลต่อการลดลงของสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง = Urbanization in Bangkok metropolitan effect to reduction of petroleum service station.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.021 2556.pdf1.38 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.