Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5515
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ปิยภัสร ธาระวานิช | - |
dc.contributor.author | ชยภรณ์ จรูญธรรม | - |
dc.date.accessioned | 2024-10-24T07:11:27Z | - |
dc.date.available | 2024-10-24T07:11:27Z | - |
dc.date.issued | 2567 | - |
dc.identifier.other | TP FM.006 2567 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5515 | - |
dc.description | 36 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ประยุกต์ใช้ Beneish Model ในการสร้างแบบจําลองสําหรับตรวจสอบการ ตกแต่งงบการเงิน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้อัตราส่วนทาง การเงินเพื่อหาความน่าจะเป็น ของการตกแต่งงบการเงิน อัตราส่วนที่ใช้ ได้แก่ ดัชนีระยะเวลาเก็บหนี้ ดัชนีกําไรชั้นต้น ดัชนีคุณภาพของสินทรัพย์ ดัชนีการเติบโตของยอดขาย ดัชนีค่าเสื่อมราคา ดัชนี ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ดัชนีความสามารถในการชําระหนี้ และ ดัชนีรายการคงค้างรวมต่อ สินทรัพย์รวม โดยใช้ข้อมูลจากประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์และข่าวจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ระหว่างปี 2547 - 2566 การศึกษาพบว่า เมื่อค่าเสื่อมราคามีค่าลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โอกาสในการตกแต่ง งบการเงินจะยิ่งเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่หากค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และรายการคงค้างรวมต่อ สินทรัพย์รวม ยิ่งมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โอกาสในการตกแต่งงบการเงินจะยิ่งเพิ่มสูงขึ้น ผลที่ได้สอดคล้องในทิศทางเดียวกับทฤษฎี แบบจําลองที่ผู้วิจัยใช้ในการทดสอบมีประสิทธิผลตรวจสอบการตกแต่งงบการเงินที่ร้อยละ 90.58 โดยสามารถชี้กลุ่มตัวอย่างบริษัทที่ดําเนินงานตามปกติได้อย่างถูกต้องที่ร้อยละ 98.92 และสามารถชี้กลุ่มตัวอย่างบริษัทที่มีการตกแต่งงบการเงินได้ร้อยละ 13.33 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การเงิน | en_US |
dc.subject | การตกแต่งงบการเงิน | en_US |
dc.subject | Beneish Model | en_US |
dc.subject | อัตราส่วนทางการเงิน | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้ Beneish Model สร้างแบบจำลองเพื่อตรวจสอบการตกแต่งงบการเงิน | en_US |
dc.title.alternative | The use of beneish model to create a model for detecting financial statement manipulation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP FM.006 2567.pdf | 705.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.