Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorปิยภัสร ธาระวนิช-
dc.contributor.authorพิชชาพร รัตนภวนนท์-
dc.date.accessioned2024-11-26T09:01:09Z-
dc.date.available2024-11-26T09:01:09Z-
dc.date.issued2567-
dc.identifier.otherTP FM.013 2567-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5546-
dc.description54 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาตัวแปรที่ส่งผลต่อการเกิดวิกฤตค่าเงินในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ 24 ประเทศ โดยใช้ข้อมูลรายเดือนตั้งแต่ปี 1996-2023 กำหนดนิยามการเกิดวิกฤตค่าเงินด้วยดัชนีแรงกดดัน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน และนำแบบจำลองโลจิท (Random Effect Logit Model) มาวิเคราะห์หา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคุณภาพสถาบันและตัวแปรทางการเงินกับโอกาสในการเกิดวิกฤตค่าเงิน ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรคุณภาพสถาบัน ได้แก่ การควบคุมการคอร์รัปชัน (Control of Corruption) หลักนิติธรรม (Rule of Law) การกำกับดูแลโดยหน่วยงานภาครัฐ (Regulatory Quality) และระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว มีนัยสำคัญและมีความสัมพันธ์เชิงลบกับโอกาสในการเกิดวิกฤต ค่าเงิน กล่าวคือ ประเทศที่ไม่มีคอร์รัปชัน มีกฎหมายและการกำกับดูแลโดยหน่วยงานภาครัฐที่มี ประสิทธิภาพ และใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวจะมีโอกาสเกิดวิกฤตค่าเงินน้อยลง ส่วนตัวแปร ทางการเงิน ได้แก่ เงินสำรองระหว่างประเทศเมื่อลดลงติดต่อกัน 3 เดือน (3 months consecutive decline in International Reserves) อัตราการว่างงาน (Unemployment Rate) และส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ยเงิน กู้ยืมกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (Interest Rate Spread) ที่มีนัยสำคัญและมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโอกาสใน การเกิดวิกฤตค่าเงิน ขณะที่การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศมีความสัมพันธ์เชิงลบen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.subjectปัจจัยที่เป็นสัญญาณen_US
dc.subjectวิกฤตค่าเงินen_US
dc.subjectดัชนีแรงกดดันตลาดอัตราแลกเปลี่ยนen_US
dc.subjectRolling Window Analysisen_US
dc.titleปัจจัยที่เป็นสัญญาณเตือนการเกิดวิกฤตค่าเงินของประเทศตลาดเกิดใหม่ด้วยวิธีแบบจำลองโลจิท (Random Effect Logit Model)en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP FM.013 2567.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.