Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5762
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | กิตติชัย ราชมหา | - |
dc.contributor.author | ภัครมัย แม้นอินทร์ | - |
dc.date.accessioned | 2025-04-19T04:11:05Z | - |
dc.date.available | 2025-04-19T04:11:05Z | - |
dc.date.issued | 2568 | - |
dc.identifier.other | TP BM.002 2568 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5762 | - |
dc.description | 74 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันที่เครื่องมือช่วยป้องกันและดูแลภาวะหลอดเลือดดำอุดตันนั้น มีแต่เฉพาะนำเข้าจากต่างประเทศทำให้มีมูลค่าสูงและผู้ป่วยบางกลุ่มไม่สามารถเข้าถึงได้ โครงการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการยอมรับของผู้ใช้เครื่องบีบอัดแรงดันลมอัจฉริยะและศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของธุรกิจเครื่องบีบอัดแรงดัน ลมอัจฉริยะที่มีแต่คู่แข่งทางการตลาดเป็นสินค้าต่างประเทศ การที่ผลิตภัณฑ์ไม่สามารถกระตุ้นให้เกิดการใช้งานในวงกว้างได้หรือไม่สามารถแพร่กระจายจำเป็นต้องมีข้อมูลประกอบหลายด้าน และเข้าใจถึงความต้องการของกลุ่มนี้ ซึ่งได้แก่ ผู้ที่มีความต้องการใช้ ผู้ที่เข้าใจตลาดที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้เวลาการทำวิจัยเป็นระยะเวลา 12 เดือน ใช้แบบสอบถามออนไลน์ไม่น้อยกว่า 200 ราย โดยกรอบแนวคิดงานวิจัย คือทฤษฎีรวมของการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (Unified Theory of Acceptance and Use of Technology หรือ UTAUT2) ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาการยอมรับของผู้ใช้งานและการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาด ของอุปกรณ์ป้องกันหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตันครั้งนี้ คือปัจจัยด้านแรงจูงใจด้านความบันเทิง (Hedonic Motivation: HM) ส่งผลต่อความตั้งใจเลือกใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ป้องกันหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน จึงสรุปได้ว่าในธุรกิจ เครื่องมือแพทย์ โดยเฉพาะเครื่องมือที่ต้องใช้งานเฉพาะกลุ่ม จำเป็นต้องมีการเข้าหาบุคคลผู้สามารถตัดสินใจเลือกใช้ อุปกรณ์ป้องกันหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตันได้ ได้แก่ แพทย์ โดยเฉพาะแพทย์กลุ่มออร์โธปิดิกส์และบุคลากรทาง แพทย์อื่นๆที่เกี่ยวข้องหรือแม้กระทั่งส่งเสริมปัจจัยอื่นๆ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาด เพราะการที่ผลิตภัณฑ์ไม่สามารถกระตุ้นให้เกิดการใช้งานในวงกว้างได้ การที่ผลิตภัณฑ์จะผ่านช่วง early adopters ได้ จำเป็นต้องมีข้อมูลประกอบหลายด้านและเข้าใจถึงความต้องการของกลุ่มนี้ตามข้อเสนอแนะของงานวิจัยนี้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการธุรกิจ | en_US |
dc.subject | Technology adoption | en_US |
dc.subject | Intermittent Pneumatic Compression Devic | en_US |
dc.subject | DVT | en_US |
dc.subject | UTAUT2 | en_US |
dc.subject | Medical Device | en_US |
dc.title | การศึกษาการยอมรับของผู้ใช้งานและการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของอุปกรณ์ป้องกันหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน | en_US |
dc.title.alternative | Technology adoption study: a case study of medical technology for IPCD (Intermittent pneumatic compression device) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP BM.002 2568.pdf | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.