Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพาสน์ ทีฆทรัพย์-
dc.contributor.authorวิทวัส สิงห์จาน-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:25:25Z-
dc.date.available2021-03-19T09:25:25Z-
dc.date.issued2015-01-21-
dc.identifierTP MS.034 2557-
dc.identifier.citation2557-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/791-
dc.description.abstractในการจัดทำสารนิพนธ์ครั้งนี้ ผู้เขียนได้ศึกษา บริษัท สยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด หนึ่งในธุรกิจ SCG Cement-Building Materials ของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) โดยเป็นบริษัทผู้ผลิตวัสดุทนไฟรายใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยปัจจุบันภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมรุนแรงมากขึ้น จากการเข้ามาของผู้แข่งสำคัญอย่างประเทศจีนประกอบกับต้นทุนด้านวัตถุดิบและการผลิตที่สูงขึ้น ส่งผลให้บริษัทเริ่มประสบปัญหาสัดส่วนกำไรต่อยอดขาย (EBITDA on Sales) ลดลงอย่างต่อเนื่องจาก 10.2% ในปี 2551 มาเป็น 8.3% ในปี 2556 ในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้กลยุทธ์สร้างการเติบโต โดยการพัฒนาสินค้าและบริการให้มีความแตกต่างและตรงตามความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า มุ่งเน้นที่การส่งมอบคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ (Value Proposition) ซึ่งก็คือ การนำเสนอสินค้าและบริการภายใต้ระบบ Total Solution Product & Service ในขณะเดียวกันมีการดำเนินการลดการสูญเสีย (Loss) ในทุกขั้นตอนการดำเนินงานผ่านกระบวนการ TPM เพื่อลดต้นทุนและสร้างความสามารถในการแข่งขันของบริษัท คำสำคัญ : กลยุทธ์เพิ่มผลกำไรอย่างยั่งยืน/ Product Development / วัสดุทนไฟ / บริษัท สยาม อุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectอุตสาหกรรม-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectวัสดุทนไฟ-
dc.subjectสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ-
dc.titleกลยุทธ์การเพิ่มผลกำไรอย่างยั่งยืนในอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ: กรรีศึกษา บริษัท สยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด = Strategies to sustain and enhance profitability in refractory business: case study Siam refractory industry co., Ltd.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.034 2557.pdf6.12 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.