Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorรวิน ระวิวงศ์-
dc.contributor.authorสุพัตรา ฉัตรชัยโสภณ-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:31:49Z-
dc.date.available2021-03-19T09:31:49Z-
dc.date.issued2014-05-13-
dc.identifierTP BM.009 2556-
dc.identifier.citation2556-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/867-
dc.description.abstractทรัพยากรมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า องค์กรจึงควรมีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ทั้งในด้านการสรรหา การคัดเลือก ความถึง การปลูกฝังหรือสร้างจิตสำนึกให้บุคลากรเกิดความผูกพัน จงรักภักดีต่อองค์กร ในการวิจัยครั้งนี้จะเป็นการหาปัจจัยสำคัญด้านความผูกพันต่อองค์กรและด้านค่าตอบแทนจากองค์กร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ พนักงานหน่วยธุรกิจเพื่อสุขภาพ บริษัทดีเคเอสเอช (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 60 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์กร พนักงานมีความรู้สึกภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร พร้อมที่จะอยู่ร่วมกับองค์กร แต่ยังไม่รู้สึกว่า ตนเองเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจของทีม ส่วนปัจจัยด้านค่าตอบแทนจากองค์กร พนักงานมีความต้องการให้องค์กรมีการปรับอัตราเงินเดือนให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและการดำรงชีพ และเห็นว่าการได้รับการพิจารณาขึ้นเงินเดือนและเลื่อนตำแหน่งจะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อการคงอยู่ในองค์กร คำสำคัญ ความผูกพันต่อองค์กร/ ค่าตอบแทนจากองค์กร/ ความจงรักภักดี-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการธุรกิจ-
dc.subjectBusiness mangement-
dc.subjectพนักงาน-
dc.subjectความผูกพัน-
dc.subjectสุขภาพ-
dc.subjectค่าตอบแทน-
dc.subjectผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ-
dc.titleปัจจัยด้านความผูกพันและค่าตอบแทนจากองค์กรกรณีศึกษาพนักงานบริษัท ดีเคเอสเอช (ประเทศไทย) จำกัด หน่วยธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ = Key factors on relations and benefit from organization. case study: DKSH (Thailand) limited business unit healthcare.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.009 2556.pdf971.02 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.