Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1211
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | พัลลภา ปีติสันต์ | - |
dc.contributor.author | ศุภวรรณ สิงห์มนัส | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T08:33:05Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T08:33:05Z | - |
dc.date.issued | 2015-05-28 | - |
dc.identifier | TP MM.062 2557 | - |
dc.identifier.citation | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1211 | - |
dc.description.abstract | สารนิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาทำความเข้าใจคุณค่าของอาหารออร์แกนิคที่มีต่อผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชัน X ที่มีต่ออาหารออร์แกนิคโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยา (Means End Chain Theory) เพื่อให้ได้องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนคือ คุณลักษณะ (Attribute) ผลลัพธ์ของบริโภค (Consequence) และคุณค่า (Value) ของผู้บริโภคที่ได้รับ ผ่านการสัมภาษณ์แบบลำดับขั้น (Laddering Interview) จำนวน 15 คน และนำวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนจากผลการวิจัยพบว่าคุณค่าที่สำคัญมากที่สุดคือ สุขภาพดีซึ่งมาจากผลลัพธ์ของการบริโภคที่สำคัญคือ สุขภาพแข็งแรงซึ่งเกิดมาจาก คุณลักษณะหลักๆ คือไม่มีสารเคมี นอกจากนี้อาหารออแกนิคยังมีคุณลักษณะทางลบ คือ มีราคาแพง และหาซื้อยาก ทำให้เกิดผลลัพธ์การบริโภคในทางลบคือ ผู้บริโภคมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น และเสียเวลาในการหาแหล่งจำหน่าย จากข้อมูลที่ได้ทำให้เข้าใจผู้บริโภค เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปปรับประยุกต์ใช้ในการทำการตลาดให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภคเจเนอเรชัน X มากที่สุด คำสำคัญ : เจเนอเรชัน X/อาหารออร์แกนิค/ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยา | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | การตลาด | - |
dc.subject | ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยา | - |
dc.subject | การบริโภค | - |
dc.subject | เจเนอเรชันเอ็ก | - |
dc.title | การประยุกต์ใช้ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยาเพื่อศึกษาและหาความสัมพันธ์ของคุณลักษณะ (Attribute) ผลลัพท์ของการบริโภค (Consequence) และคุณค่า (Value) ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่น X ที่มีต่ออาหารออร์แกนิค = Application of means end chain theory for education and correlation of attributes, the result of consequence and value of generation x who consump organic food. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MM.062 2557.pdf | 10.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.