Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3651
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorภูมิพร ธรรมสถิตเดช-
dc.contributor.authorอมรเทพ โกมุทานนท์-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:50:32Z-
dc.date.available2021-03-23T10:50:32Z-
dc.date.issued2020-11-26-
dc.identifierTP MS.019 2563-
dc.identifier.citation2563-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3651-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Strategic Foresight กับ กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม โดยการวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บข้อมูลใช้กระบวนการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มทั้งหมด 18 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า การทำ Strategic Foresight จำเป็นต้องใช้ชุดข้อมูลการมองภาพอนาคตของตลาด และการวิเคราะห์ถึงเทคโนโลยี องค์กรต้องให้ความสำคัญกับปัจจัยในเรื่องของการสื่อสารข้ามสายงานและการเรียนรู้ของทีม NPD เป็นอย่างมากเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และมุมมองของผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆเพื่อให้ได้ภาพอนาคตที่สามารถเป็นไปได้ที่หลากหลาย และนำไปสู่การกำหนดเป็น Scenario ซึ่งส่งผลต่อการเลือกใช้กลยุทธ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อย่างเหมาะสม และกลยุทธ์นี้จะนำไปสู่กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นสามารถทำให้ทีม NPD วางแผนการดำเนินงานได้ดีขึ้น สามารถวางแผนการเลือกใช้หรือเลือกลงทุนทางเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และขยาย Product Portfolio ได้เพื่อรองรับกับตลาดที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectการพัฒนาผลิตภัณฑ์-
dc.subjectอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม-
dc.titleการศึกษาความเชื่อมโยงของการมองอนาคตเชิงกลยุทธ์กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ของอุตสาหกรรมเครื่องดื่มในประเทศไทย = A STUDY OF THE LINKAGE BETWEEN STRATEGIC FORESIGHT AND NEW PRODUCT DEVELOPMENT IN BEVERAGE INDUSTRY OF THAILAND.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.019 2563.pdf1.04 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.