Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorวินัย วงศ์สุรวัฒน์-
dc.contributor.authorนันท์นภัส ฤทธิธาดา-
dc.date.accessioned2022-01-24T06:42:21Z-
dc.date.available2022-01-24T06:42:21Z-
dc.date.issued2021-09-09-
dc.identifier.otherTP MM.066 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4302-
dc.description57 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาธุรกิจโรงรับจำนำเอกชนในกรุงเทพฯ ในยุคปัจจุบันว่าการปรับตัวหรือเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างไร และในส่วนของผู้บริโภคเองมีพฤติกรรมการใช้บริการ และทัศนคติต่อโรงรับจำนำอย่างไร ในปัจจุบัน เพื่อให้โรงรับจำนำ เอกชนสามารถนำไปปรับปรุง พัฒนาการบริการให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้มากขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบงานวิจัยเชิงคณุภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการวิจัยเชิงเอกสารร่วม (Documentation Research) ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับโรงรับจำนำเอกชน กลุ่มผู้บริโภคโภคที่เคยใช้บริการโรงรับจำนำเอกชน และกลุ่มผู้บริโภคที่ไมเ่คยใช้บริการ โรงรับจำนำเอกชน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 30 คน จากผลการวิจยัพบว่าโรงรับจำนำเอกชนในกรุงเทพฯ บางแห่งมีการปรับภาพลักษณ์ ใหม่หรือการรีแบรนด์ เพื่อดึงดูดลูกค้าระดับชนชั้นกลางเข้ามามากขึ้น แต่โรงรับจำนำเอกชนราย ย่อยในกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ยัง คงไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เนื่องจากเห็นว่ายังสามารถทำกำไรกับกลุ่มรากหญ้า ซึ่งเป็นลูกค้าส่วนใหญ่ขอโรงรับจำนำเอกชนในกรุงเทพฯ ได้อยู่en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectโรงจำนำเอกชนen_US
dc.subjectการออมในสินทรัพย์en_US
dc.subjectการรีแบรนด์en_US
dc.titleการศึกษาธุรกิจโรงรับจำนำเอกชนกับพฤติกรรมการใช้บริการของคนกรุงเทพฯen_US
dc.title.alternativeTHE STUDY OF PRIVATE PAWNSHOP BUSINESS AND CONSUMER BEHAVIOR IN BANGKOKen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.067 2564.pdf2.14 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.