Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/432
Title: การศึกษารูปแบบการสื่อสารการตลาดอารมณ์ขันในสื่อสังคมออนไลน์
Authors: กรกนก โพธิ์พุก
Keywords: Marketing and Management
การสื่อสารการตลาด
สังคมออนไลน์
Issue Date: 15-May-2014
Publisher: มหาวิทยาลัยมหิดล
Citation: 2556
Abstract: สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงรูปแบบและวิธีการที่ดีในการทาการสื่อสารการตลาดอารมณ์ขันในสื่อสังคมออนไลน์โดยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) จากคัดกรองข้อมูลตามหลักทฤษฏีการสื่อสารของเบอร์โล (Berlo) ผู้วิจัยได้ทาการค้นคว้าหาข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) และนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาทาการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผู้วิจัยได้นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ จาแนก และจัดกลุ่มรูปแบบการสื่อสารการตลาดอารมณ์ขันในสื่อสังคมออนไลน์ตามหลักของทฤษฏีอารมณ์ขัน รูปแบบอารมณ์ขันและภาษาของอารมณ์ขัน โดยนาความเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือสอดคล้องกันเข้าไว้ด้วยกัน จากนั้นจึงสรุปและจัดแบ่งหมวดหมู่ของกลุ่มคาเพื่อสังเคราะห์ให้เกิดเป็นรูปแบบการสื่อสารการตลาดอารมณ์ขันที่ดีในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) โดยสรุปพบว่า รูปแบบการสื่อสารการตลาดอารมณ์ขันที่ดีในสื่อสังคมออนไลน์ ประกอบด้วยทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างสารอารมณ์ขัน 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. ทฤษฏีอารมณ์ขันผิดฝาผิดตัว 2.ทฤษฏีอารมณ์ขันปลดปล่อย 3. ทฤษฏีอารมณ์ขันที่เกิดจากการมีประสบการณ์ร่วมและรูปแบบการนาเสนออารมณ์ขันมีอยู่ด้วยกัน 8 รูปแบบได้แก่ 1.การใช้ภาพ 2. การใช้ภาษาเขียน 3. การผสมผสานทั้งการใช้ภาพและภาษาเขียน 4. การเล่นคา 5. การใช้คาผวน 6. การลวงให้คิด 7.การพูดเล่นคารม และ 8.การแสดงสีหน้าและท่าทางในอิริยาบทต่างๆ เพื่อนาเสนออารมณ์ขัน คาสาคัญ: อารมณ์ขัน, การสื่อสารการตลาด, สื่อสังคมออนไลน์
URI: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/432
Other Identifiers: TP MM.008 2556
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.008 2556.pdf1.53 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.