Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/459
Title: | ทัศนคติและพฤติกรรมในความเชื่อเรื่องตำนานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร |
Authors: | วนิดา รัตนชินกร |
Keywords: | Marketing and Management ความเชื่อ ตำนาน |
Issue Date: | 20-May-2014 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยมหิดล |
Citation: | 2556 |
Abstract: | สารนิพนธ์ฉบับนี้ ทาการวิจัยในหัวข้อ ทัศนคติและพฤติกรรมที่มีต่อความเชื่อเรื่องตานานของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่อความเชื่อเรื่องตานาน ผู้วิจัยใช้ลักษณะการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวมรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่มีความเชื่อเรื่องโชคลาง จานวน 422 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคาดหวังจากสินค้าและบริการเกี่ยวกับโชคลางด้านความปลอดภัยมากที่สุด มีความเชื่อโชคลางเพื่อความสบายใจ ผู้บริโภคยินดีที่จะยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการตามความสามารถที่จ่ายได้ ในด้านทัศนคติต่อเรื่องตานาน ผู้บริโภคส่วนมากมีทัศนคติว่าเป็นเรื่องราวที่ถูกแต่งขึ้นมา มีการเล่าสืบทอดต่อกันมายาวนาน บุคคลใกล้ตัวเป็นผู้ที่มีอิทธิพลมาก และถึงแม้ผู้บริโภคจะคิดว่าตานานคือเรื่องราวที่เล่ากันมา และไม่ได้สืบทอดมาจากความจริง แต่ผู้บริโภคก็มีทัศนคติที่ดีต่อเรื่องตานานว่า เป็นเรื่องราวที่ให้ข้อคิดเตือนใจในการดาเนินชีวิต จึงทาให้ในปัจจุบันก็ยังมีการเล่าเรื่องราวของตานานอยู่จากรุ่นสู่รุ่น โดยประเภทตานานที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติความเชื่อมากที่สุดคือ ตานานที่มาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ส่วนประเภทของตานานที่ผู้บริโภคเชื่อและส่งผลต่อพฤติกรรมมากที่สุดคือความเชื่อเกี่ยวกับตานานของบุคคลเพราะเมื่อผู้บริโภคฟังแล้วก็จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม เกิดการทาตามตานานนั้นๆ โดยปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติและความเชื่อของผู้บริโภคคือ ระดับการศึกษา และระดับรายได้ ที่จะส่งผลให้ผู้บริโภคปฏิบัติตาม หรือซื้อสินค้าที่มีการใช้เรื่องตานานมาเกี่ยวข้อง คาสาคัญ : ตานาน / ความเชื่อ / โชคลาง |
URI: | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/459 |
Other Identifiers: | TP MM.020 2556 |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MM.020 2556.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.