Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5177
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ตรียุทธ พรหมศิริ | - |
dc.contributor.author | ปทุมมา ตั้งชูลาภ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-27T11:00:13Z | - |
dc.date.available | 2023-09-27T11:00:13Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.other | TP EM.020 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5177 | - |
dc.description | 105 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันการบริโภคกาแฟของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในช่วง 10 ปี ที่ ผ่านมาการบริโภคกาแฟของโลกเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 2.1 ต่อปี (ที่มา: International Coffee Organization) ส่วนในประเทศไทยมีการคาดการณ์ว่าตลาดกาแฟมีแนวโน้มที่จะโตขึ้นเรื่อย ๆ โดย ภายในปี พ.ศ.2564 ตลาดกาแฟสดในประเทศไทยโตมากขึ้น 7.2% จากปี ก่อนหน้า และจากสถิติที่ คนไทยบริโภคกาแฟเฉลี่ยมากกว่า 300 แก้วต่อคนต่อปี ทำให้เห็นว่าการบริโภคมีแนวโน้มทิศทางที่ น่าจับตามองสำหรับตลาดกาแฟไทย แม้ว่าเมื่อ 2 ปี ที่ผ่านมา ประเทศไทยเจอกับสถานการณ์การระบาดไวรัสโควิด-19 แต่ ภาพรวมการตลาดกาแฟสดในประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมายังคงเป็นตลาดที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าสถานะการณ์โควิด-19 ท าให้ผู้บริโภคเปลี่ยนการบริโภคกาแฟจากช่องทาง On-trade มาเป็น การบริโภคผ่านช่องทาง Off-trade มากขึ้นแต่เทรนด์ของร้านกาแฟยังคงอยู่ได้เนื่องจากพฤติกรรม ผู้บริโภคที่ต้องการ Third Place ต้องการแหล่งพบปะกัน รวมถึงผู้บริโภคทั้งในประเทศไทยและ ต่างประเทศหันมาให้ความสนใจในเมล็ดกาแฟพิเศษ, กาแฟบดเพิ่มขึ้นและเริ่มนิยมบริโภคกาแฟพิเศษ (Specialty Coffee) มากกว่าเมนูที่หาได้ทั่ว ๆ ไปซึ่งเป็นช่องทางที่ทางร้านกาแฟสามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กาแฟ ได้มากกว่ากาแฟทั่วไป ดังนั้น ร้านกาแฟ Sustainable Café จึงมองเห็นโอกาสทางธุรกิจ นำกาแฟผสมสมุนไพร ไทยเพื่อเปิดตลาดใหม่ให้ความรู้สึกแตกต่างจากร้านกาแฟทั่วไป และนอกจากนี้ทางร้านยังนำเทคโนโลยี AR Menu มาใช้เป็นเทคโนโลยีใหม่มาพัฒนาเพื่อตอบโจทย์ความต้องการ และแก้ Pain point ของลูกค้าจากการที่ลูกค้าไม่ทราบว่าเมนูนั้นคืออะไร หรือไม่รู้ส่วนผสม หรือแม้แต่ไม่กล้าถาม พนักงาน เป็ นต้น จึงทำให้ทางร้านได้หยิบยกประเด็นนี้มาเป็นจุดขายของร้านเพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้ตรงประเด็นมากยิ่งขึ้น และยิ่งกว่าน้ันทางร้านได้เล็งเห็นโอกาสที่ยังไม่มีร้านกาแฟไหนพัฒนาเทคโนโลยี AR Menu มาใช้ในประเทศไทยมาก่อน จึงได้ตัดสินค้าใจในการทำธุรกิจร้าน Glee café นี้ขึ้นมา โดยเงินลงทุนที่ใช้ในการเปิด กิจการรวมทั้งสิ้น 4.06 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินทุนส่วนตัว 2 ล้านบาท และเงินกู้เพิ่มเติมทั้งสิ้น 2.06 ล้านบาท ซึ่งมีสัดส่วนการขายสินค้าโดยประมาณ ได้แก่ เครื่องดื่มประเภทกาแฟ 60%, เครื่องดื่มประเภท Non-coffee 30% และ Bakery 10% | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม | en_US |
dc.subject | แผนธุรกิจ | en_US |
dc.subject | ร้านการแฟ | en_US |
dc.subject | GLEE Cafe | en_US |
dc.title | GLEE Café Business Plan | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP EM.021 2566.pdf | 6.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.