Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/872
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorธนพล วีราสา-
dc.contributor.authorณัฐวัฒน์ พรชัยทิพย์รัตน์-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:32:19Z-
dc.date.available2021-03-19T09:32:19Z-
dc.date.issued2014-05-15-
dc.identifierTP EM.010 2557-
dc.identifier.citation2557-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/872-
dc.description.abstractชาเขียวยงชามะ มีแหล่งยลิตอยู่ที่ไร่ชาไทยดอยธรรม อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ซึ่งปลูกชาสายพันธุ์จีนและสายพันธุ์อัสสัม เดิมจะนามายลิตเป็นชาอูหลงชนิดใบ ซึ่งต้องนาไปชงกับน้าร้อนเพื่อดื่ม เพื่อต่อยอดธุรกิจเดิมให้ตอบสนองต่อพฤติกรรมยู้บริโภคในปัจจุบันที่นิยมความสะดวกสบายมากขึ้น จึงได้นาชาสายพันธุ์จีนมายลิตเป็นชาเขียวยง ซึ่งสามารถชงได้ง่ายขึ้น การต่อยอดธุรกิจนี้ทาให้ต้องศึกษาตลาดที่จะเข้าไปเพื่อหารูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม ในภาพรวมกระแสของเครื่องดื่มชาเขียวมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อยๆ สังเกตได้จากทั้งแนวโน้มการปลูกชาในประเทศไทย และจานวนร้านเครื่องดื่มที่ขายชาเขียวมีจานวนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงในธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นและเกาหลี ซึ่งมีเครื่องดื่มชาเขียวไว้บริการแทบทุกร้าน นอกจากนี้ด้วยคุณสมบัติที่ดีต่อสุขภาพในแง่ต่างๆของชาเขียว เช่น ช่วยลดไขมันในเลือด และมีสารต้านอนุมูลอิสระ ก็ทาให้ยู้ที่ใส่ใจสุขภาพหันมาดื่มชาเขียวกันมากขึ้นด้วย จึงเป็นที่มาของการศึกษารูปแบบธุรกิจโดยแบ่งขอบเขตการศึกษาออกเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนของการพัฒนาการยลิตและจัดส่งเป็นวัตถุดิบชาเขียวยงให้กับร้านอาหารญี่ปุ่นและเกาหลี (โดยตรงและย่านตัวแทนจาหน่าย) หรือธุรกิจแบบ B2B และส่วนของการเปิดร้านชาเขียวชงสดพร้อมเสิร์ฟในลักษณะ Kiosk หรือธุรกิจแบบ B2C ขอบเขตการศึกษาธุรกิจแบบ B2B นั้นจะศึกษาตั้งแต่กระบวนการยลิต จนถึงการเข้าสู่ตลาด โดยจากการศึกษาข้อมูลหลายๆด้าน ทาให้ได้ข้อมูลเพื่อพัฒนากระบวนการยลิต โดยใช้เทคโนโลยีการยลิตแบบยสมยสานจากเทคโนโลยีแบบจีนและแบบญี่ปุ่นเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ชาเขียวยงที่มีกลิ่นหอมซึ่งเป็นเอกลักษณ์และความละเอียดของยงชาเพื่อให้ละลายน้าได้ดียิ่งขึ้น โดยที่ในขั้นตอนการยลิตเดิมนั้นมีโรงงานซึ่งใช้เทคโนโลยีการยลิตแบบจีนอยู่แล้ว เมื่อคานึงถึงต้นทุนการสร้างโรงงานเองแล้วไม่คุ้มค่าทั้งเรื่องของเงินลงทุนและระยะเวลา เพราะต้องการไปทุ่มเทกับการตลาด และการสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักมากกว่า จึงพิจารณาใช้โรงงานยลิตเดิม แต่จะลงทุนในส่วนของเครื่องบดแบบญี่ปุ่น ซึ่งจะมีเงินลงทุนสาหรับเครื่องบดใบชาแบบเครื่องโม่หินนี้อยู่ที่ประมาณ 64,000 บาท รวมการลงทุนเพิ่มในโครงการนี้ในส่วนของ B2B เป็นจานวนเงิน 1,654,125 บาท โดยเงินทุนจะมาจากส่วนของเจ้าของจานวน 1,295,025 บาท และกู้ยืมเงินจากธนาคารอีก 359,100 บาท ส่วนของการกู้ยืมนั้นนาไปใช้สาหรับซื้อรถกระบะ ทาการประเมินการลงทุนใน 5 ปี จะมีมูลค่าปัจจุบัน (NPV) ที่ 5,978,095 บาท มีอัตรายลตอบแทนของนักลงทุนเฉลี่ย (IRR) อยู่ที่ 85.68%ใช้ระยะเวลาในการคืนทุน คือ 1 ปี 10 เดือน จากการคาดการณ์ในปีที่ 5 จะมีรายได้อยู่ที่ 13,248,000 บาท กาไรสุทธิในปีที่ 5 อยู่ที่ 3,726,654 บาท ขอบเขตการศึกษาในส่วน B2C คือการเปิด Kiosk จาหน่ายเครื่องดื่มชาเขียวชงสดพร้อมเสิร์ฟนั้น จะทาการวิจัยตลาดด้วยวิธีการต่างๆ ซึ่งจากยลการสารวจที่ได้จากกลุ่มเป้าหมายโดยตรงทาให้สามารถกาหนดกลยุทธ์การตลาดของตลาด B2C ได้ ทั้งเรื่องการพัฒนายลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจาหน่าย และการกาหนดราคาที่เหมาะสม ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกันกับข้อมูลที่ได้จากการไปขายจริง และข้อมูลจากแหล่งอื่นๆที่ได้ศึกษามาแล้วก่อนหน้า จึงได้มีการตั้งเป้าหมายในการขยายสาขาไว้ในปีแรกจะเปิด 1 สาขา ในปีที่ 2 กับ 3 จะเปิดเพิ่มอีกปีละ 2 สาขา และในปีที่ 4 กับ 5 จะเปิดเพิ่มปีละ 3 สาขา รวมทั้งหมดเป็น 11 สาขา ในปีที่ 5 เพื่อให้รายได้ขยายตัวตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยแหล่งเงินทุนจะมาจากส่วนของเจ้าของทั้งหมด ไม่มีการกู้ยืม จะใช้เงินลงทุนสาหรับ 1 สาขา ประมาณ 225,655 บาท ทาการประเมินการลงทุนใน 5 ปี จะมีมูลค่าปัจจุบัน (NPV) ที่ 8,370,081 บาท มีอัตรายลตอบแทนของนักลงทุนเฉลี่ย (IRR) อยู่ที่ 307.44% ใช้ระยะเวลาในการคืนทุน คือ 1 ปี 1 เดือน จากการคาดการณ์ในปีที่ 5 จะมีรายได้อยู่ที่ 25,090,560 บาท กาไรสุทธิในปีที่ 5 อยู่ที่ 5,732,684 บาท-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectEntrepreneurship Management-
dc.subjectชาเขียว-
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของธุรกิจการผลิตและการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากชาเขียวผง ภายใต้แบรนด์ "Chama"-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP EM.010 2557.pdf1.44 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.